การอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร) มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับองค์กรที่ต้องการปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน หลักสูตรนี้มีเนื้อหาครอบคลุมใน 3 หมวดวิชา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและความรู้ของผู้บริหารในการจัดการความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ
บทความอบรมความปลอดภัย
อัคคีภัยเป็นเหตุการณ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ การเตรียมพร้อมและมีความรู้ในการใช้ถังดับเพลิงจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนควรมี เพื่อเพิ่มโอกาสในการควบคุมเพลิงไหม้ในช่วงแรกเริ่มก่อนที่ไฟจะลุกลาม การใช้ถังดับเพลิงอย่างถูกวิธีไม่เพียงช่วยลดความเสียหายต่อทรัพย์สิน แต่ยังช่วยปกป้องชีวิตของคุณและผู้อื่น
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องตามที่กฎหมายกำหนดรวมถึง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเรื่องอุบัติเหตุและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ให้กับพนักงานที่ผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว 2 ปี กิจการหรือสถานประกอบการ จึงจำเป็นต้องจัดให้มีการฝึกอบรม หลักสูตร การอบรมหรือทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น ดังกล่าวนี้
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
พนักงานที่ ผ่านการฝึกอบรม การฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุของปั้นจั่น และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นชนิดปั้นจั่น
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-30 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 3 ชั่วโมง
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม.) (2) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุ ของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุ ของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) (3) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณือื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที) |
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
- พนักงาน ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
- หัวหน้างาน
- ผู้ที่มีความสนใจ
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 18 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 15 ชม. + ภาคปฏิบัติ 3 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร อบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น 18 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที) (11) การอ่านค่าตารางพิกัดน้ำหนักยก (1 ชม. |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (12) การคำนวณแรงรับน้ำหนักของอุปกรณ์ผูก มัด และยึดโยง ที่ใช้สำหรับยกสิ่งของ (1 ชม. 30 นาที) |
วันที่ 3 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 11.00 | (13) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (1 ชม.) ทดสอบภาคทฤษฎี (1 ชม.) |
11.00 – 11.15 | พักเบรค |
11.15 – 12.15 | การฝึกอบรมและทดสอบภาคปฏิบัติ (14) การใช้สัญญาณมือ (30 นาที) (15) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (15) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) (16) การวางแผนการยก (30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (16) การวางแผนการยก (1 ชม. 30 นาที) |
หลักสูตร : อบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ (12 ชม.)
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
เหมาะสำหรับ
- พนักงาน ที่ปฏิบัติงานเป็นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
- หัวหน้างาน
- ผู้ที่สนใจ
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
รายละเอียดหลักสูตร
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 12 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 9 ชม. + ภาคปฏิบัติ 3 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ 12 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) (9) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (30 นาที) ทดสอบภาคทฤษฎี |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | ภาคปฏิบัติ (10) การใช้สัญญาณมือ (1 ชม.) (11) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (11) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม. 30 นาที) |
หลักสูตร : อบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ (24 ชม.)
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
- หัวหน้างาน
- พนักงาน ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 24 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 18 ชม. + ภาคปฏิบัติ 6 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตรผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ 24 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (1 ชม.) (11) การอ่านค่าตารางพิกัดน้ำหนักยก (30 นาที) |
วันที่ 3 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (11) การอ่านค่าตารางพิกัดน้ำหนักยก (30 นาที) (12) ระบบเครื่องยนต์ดีเซลเบื้องต้นหรือระบบไฮดรอลิกเบื้องต้น (30 นาที) (13) เครื่องหมายจราจร |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (14) การคำนวณแรงรับน้ำหนักของอุปกรณ์ผูก มัด และยึดโยง ที่ใช้สำหรับยกสิ่งของ (1 ชม. 30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (15) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (1 ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (15) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (30 นาที) ทดสอบภาคทฤษฎี (1 ชม.) |
วันที่ 4 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคปฏิบัติ (16) การใช้สัญญาณมือ (30 นาที) (17) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (18) การวางแผนยก (30 นาที) (19) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (19) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (19) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับบังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
เหมาะสำหรับ
- หัวหน้างาน
- พนักงาน ที่ปฏิบัติหน้าที่บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 18 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 12 ชม. + ภาคปฏิบัติ 6 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ 18 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (1 ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที) (11) การอ่านค่าตารางพิกัดน้ำหนักยก (30 นาที) (12) ระบบเครื่องยนต์ดีเซลเบื้องต้นหรือระบบไฮดรอลิกเบื้องต้น (30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (13) เครื่องหมายจราจร (30 นาที) (14) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (30 นาที) ทดสอบภาคทฤษฎี (30 นาที) |
วันที่ 3 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคปฏิบัติ (15) การใช้สัญญาณมือ (30 นาที) (16) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (17) การวางแผนยก (30 นาที) (18) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (18) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (18) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
หลักสูตร : อบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน (24 ชม.)
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
เหมาะสำหรับ
- พนักงาน ที่ปฏิบติงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นหอสูง และปั้นจั่นอยู่กับที่ที่ทำงานคล้ายกัน
- หัวหน้างาน
- ผู้ที่สนใจ
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 24 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 18 ชม. + ภาคปฏิบัติ 6 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน 24 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (30 นาที) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (30 นาที) (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (1 ชม. 30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ (1 ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (1 ชม. 30 นาที) |
วันที่ 3 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (11) การอ่านค่าตารางพิกัดน้ำหนักยก (1 ชม.) (12) ระบบเครื่องยนต์ดีเซลเบื้องต้นหรือระบบไฮดรอลิกเบื้องต้น (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (13) การคำนวณแรงรับน้ำหนักของอุปกรณ์ผูก มัด และยึดโยง ที่ใช้สำหรับยกสิ่งของ (1 ชม. 30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (14) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (1 ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (14) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (1 ชม. 30 นาที) ทดสอบภาคทฤษฎี (1 ชม.) |
วันที่ 4 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคปฏิบัติ (15) การใช้สัญญาณมือ (30 นาที) (16) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (17) การวางแผนยก (30 นาที) (18) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (18) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (18) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
หลักสูตร : อบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน (18 ชม.)
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับชนิดปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
เหมาะสำหรับ
- พนักงาน ที่ปฏิบัติหน้าที่บังคับปั้นจั่นหอสูง
- หัวหน้างาน
- ผู้ที่มีความสนใจ
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 18 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 12 ชม. + ภาคปฏิบัติ 6 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน 18 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (1 ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (1 ชม.) (11) การอ่านค่าตารางพิกัดน้ำหนักยก (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (12) ระบบเครื่องยนต์ดีเซลเบื้องต้นหรือระบบไฮดรอลิกเบื้องต้น (30 นาที) (13) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (30 นาที) ทดสอบภาคทฤษฎี (30 นาที) |
วันที่ 3 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคปฏิบัติ (14) การใช้สัญญาณมือ (30 นาที) (15) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (16) การวางแผนยก (30 นาที) (17) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (17) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (17) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
หลักสูตร : อบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน (18 ชม.)
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก
เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน
โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:
(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน
(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สถานประกอบการจำเป็นต้องจัดให้พนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับ ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุของปั้นจั่น และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นชนิดปั้นจั่นเหนือศรีษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นตามที่กฎหมายกำหนด
เหมาะสำหรับ
- พนักงาน ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูงและปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่
- หัวหน้างาน
- ผู้ที่มีความสนใจ
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-20 ท่าน/รุ่น
วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา / ฝึกภาคปฏิบัติ
สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 18 ชั่วโมง
(ภาคทฤษฎี 12 ชม. + ภาคปฏิบัติ 6 ชม.)
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– ทดสอบภาคปฏิบัติ
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน 18 ชม.
เวลา | รายละเอียด |
---|---|
วันที่ 1 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคทฤษฎี (1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม. 30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับชนิดและประเภทปั้นจั่นตามหลักสูตร นั้นๆ (30 นาที) (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (1ชม.) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (3) ความรู้เกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก รวมถึงการเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับการผูกมัดและยึดโยง (30 นาที) (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (4) วิธีการผูก มัด ยึดโยง และการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (30 นาที) (5) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.) |
วันที่ 2 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | (6) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ แก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมปั้นจั่น (30 นาที) (7) การให้สัญญาณมือ (30 นาที) (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (8) การประเมินน้ำหนักสิ่งของ (30 นาที) (9) ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น สัญญาณเตือน และ Limit switch ตามหลักสูตรนั้น ๆ(30 นาที) (10) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (11) การคำนวณแรงรับน้ำหนักของอุปกรณ์ ผูก มัด และยึดโยง ที่ใช้สำหรับยกสิ่งของ (1 ชม.) (12) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (12) การวางแผนการยกตามชนิดและประเภทของปั้นจั่น (30 นาที) ทดสอบภาคทฤษฎี (1 ชม.) |
วันที่ 3 | |
08.30 – 09.00 | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 | ภาคปฏิบัติ (13) การใช้สัญญาณมือ (30 นาที) (14) การผูก มัด ยึดโยง และการประเมินน้ำหนัก สำหรับการยกเคลื่อนย้ายสิ่งของ (1 ชม.) |
10.30 – 10.45 | พักเบรค |
10.45 – 12.15 | (15) การวางแผนยก (30 นาที) (16) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
12.15 – 13.15 | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.15 – 14.45 | (16) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |
14.45 – 15.00 | พักเบรค |
15.00 – 16.30 | (16) การฝึกปฏิบัติในการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามชนิด และประเภทของปั้นจั่นที่สอดคล้องกับหลักสูตร (1ชม. 30 นาที) |