Safetymember.net
  • หน้าหลัก
  • บริการ
    • หลักสูตร ทั่วไป >
      • อบรมที่สูง
      • อบรมพนักงานใหม่
      • อบรมที่อับอากาศ
      • อบรมเครน 4 ผู้
      • อบรมโรยตัว
      • อบรมโฟล์คลิฟท์
      • อบรมไฟฟ้า
      • อบรมสารเคมี
      • อบรมผู้เฝ้าระวังไฟ
      • อบรมปฐมพยาบาล
      • อบรมนั่งร้าน
      • อบรมดับเพลิง
    • หลักสูตร จป >
      • อบรม จป บริหาร
      • อบรม จป หัวหน้างาน
      • อบรม จป เทคนิค
      • อบรม คปอ
      • พัฒนาความรู้ จป 12 ชม.
    • วิศวกรรม >
      • ตรวจเครน
      • ซ่อมเครน
      • ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
      • PM ระบบไฟฟ้า
      • ตรวจสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
      • ตรวจระบบดับเพลิง
      • ตรวสอบอาคาร
  • อบรม ความปลอดภัย
  • อบรม จป
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อ
Safetymember.net
  • หน้าหลัก
  • บริการ
    • หลักสูตร ทั่วไป >
      • อบรมที่สูง
      • อบรมพนักงานใหม่
      • อบรมที่อับอากาศ
      • อบรมเครน 4 ผู้
      • อบรมโรยตัว
      • อบรมโฟล์คลิฟท์
      • อบรมไฟฟ้า
      • อบรมสารเคมี
      • อบรมผู้เฝ้าระวังไฟ
      • อบรมปฐมพยาบาล
      • อบรมนั่งร้าน
      • อบรมดับเพลิง
    • หลักสูตร จป >
      • อบรม จป บริหาร
      • อบรม จป หัวหน้างาน
      • อบรม จป เทคนิค
      • อบรม คปอ
      • พัฒนาความรู้ จป 12 ชม.
    • วิศวกรรม >
      • ตรวจเครน
      • ซ่อมเครน
      • ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
      • PM ระบบไฟฟ้า
      • ตรวจสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
      • ตรวจระบบดับเพลิง
      • ตรวสอบอาคาร
  • อบรม ความปลอดภัย
  • อบรม จป
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อ
Safetymember.net
Safetymember.net
  • หน้าหลัก
  • บริการ
    • หลักสูตร ทั่วไป >
      • อบรมที่สูง
      • อบรมพนักงานใหม่
      • อบรมที่อับอากาศ
      • อบรมเครน 4 ผู้
      • อบรมโรยตัว
      • อบรมโฟล์คลิฟท์
      • อบรมไฟฟ้า
      • อบรมสารเคมี
      • อบรมผู้เฝ้าระวังไฟ
      • อบรมปฐมพยาบาล
      • อบรมนั่งร้าน
      • อบรมดับเพลิง
    • หลักสูตร จป >
      • อบรม จป บริหาร
      • อบรม จป หัวหน้างาน
      • อบรม จป เทคนิค
      • อบรม คปอ
      • พัฒนาความรู้ จป 12 ชม.
    • วิศวกรรม >
      • ตรวจเครน
      • ซ่อมเครน
      • ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
      • PM ระบบไฟฟ้า
      • ตรวจสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
      • ตรวจระบบดับเพลิง
      • ตรวสอบอาคาร
  • อบรม ความปลอดภัย
  • อบรม จป
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อ
Category:

หลักสูตรตามกฎหมาย

รับมือสารเคมีรั่วไหล
ความปลอดภัยในการทำงานสารเคมีอันตราย

Checklist เตรียมพร้อมรับมือสารเคมีรั่วไหล ที่ทุกองค์กรควรใช้

by pam 6 พฤษภาคม 2025
written by pam

สารเคมีรั่วไหลเป็นเหตุการณ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกองค์กรที่มีการจัดเก็บหรือใช้สารเคมี โดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรม ห้องปฏิบัติการ หรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุอันตราย การเตรียมความพร้อมเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดความรุนแรงของเหตุการณ์ รวมถึงป้องกันการบาดเจ็บ ทรัพย์สินเสียหาย หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช็กลิสต์ฉุกเฉินสำหรับรับมือสารเคมีรั่วไหลจึงควรถูกจัดเตรียมไว้ในจุดสำคัญ ฝึกซ้อมอย่างสม่ำเสมอ และทบทวนเป็นประจำ เพื่อให้มั่นใจว่าเมื่อเกิดเหตุขึ้น จะสามารถรับมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Continue Reading
6 พฤษภาคม 2025
ไฟฉายกันระเบิด ใช้งานในที่อับอากาศ
PPEทำงานที่อับอากาศ

ทำไมต้องใช้ไฟฉายกันระเบิด ใช้งานในที่อับอากาศและพื้นที่เสี่ยง

by pam 2 พฤษภาคม 2025
written by pam

พื้นที่อับอากาศ (Confined Space) เป็นหนึ่งในสถานที่ทำงานที่มีความเสี่ยงสูงที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพื้นที่เหล่านั้นมีความเสี่ยงจากไอระเหยหรือก๊าซไวไฟ การดำเนินการในพื้นที่ลักษณะนี้จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ หนึ่งในนั้นคือ “ไฟฉายกันระเบิด (Explosion-Proof Flashlight)” ซึ่งอาจดูเป็นเพียงอุปกรณ์ขนาดเล็ก แต่ในความเป็นจริงแล้ว เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่สามารถป้องกันอุบัติเหตุร้ายแรง เช่น ไฟไหม้ หรือการระเบิด ที่อาจส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือเสียชีวิต

Continue Reading

2 พฤษภาคม 2025
ขั้นตอนติดตั้ง Tripod ที่อับอากาศ
ความปลอดภัยในการทำงานทำงานที่อับอากาศ

ขั้นตอนการติดตั้ง Tripod ที่อับอากาศ อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน

by pam 1 พฤษภาคม 2025
written by pam

ในงานที่เกี่ยวข้องกับ การทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space Entry) การเลือกใช้และติดตั้งอุปกรณ์ช่วยชีวิตอย่าง Tripod อย่างถูกต้องถือเป็นเรื่องสำคัญที่มีผลโดยตรงต่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ Tripod ไม่เพียงแต่ใช้สำหรับการช่วยเหลือและกู้ภัยในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการรับ-ส่งผู้ปฏิบัติงานเข้าออกจากพื้นที่เสี่ยงด้วย

Continue Reading
1 พฤษภาคม 2025
การช่วยเหลือฉุกเฉินในที่อับอากาศ
PPEทำงานที่อับอากาศ

การช่วยเหลือฉุกเฉินในที่อับอากาศ ไม่ใช่ใครก็ลงไปช่วยได้

by pam 27 เมษายน 2025
written by pam

พื้นที่อับอากาศ (Confined Space) เป็นหนึ่งในสภาพแวดล้อมที่มีความเสี่ยงสูงต่อชีวิตของผู้ปฏิบัติงานและผู้เข้าช่วยเหลือ หากไม่มีการวางแผนและฝึกอบรมอย่างถูกต้อง สถิติจากหลายประเทศทั่วโลกพบว่า ผู้เสียชีวิตในที่อับอากาศมักไม่ใช่เพียงผู้ประสบเหตุเท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้ที่พยายามเข้าช่วยโดยปราศจากความพร้อมและอุปกรณ์ที่เหมาะสม การช่วยเหลือในสถานการณ์เช่นนี้จึงไม่ใช่เรื่องของความกล้าหาญ หากแต่ต้องอาศัยหลักการ ความรู้ ความเข้าใจ และการเตรียมพร้อมที่เป็นระบบ

Continue Reading
27 เมษายน 2025
SCBA กับ Air-Line Supply
PPEทำงานที่อับอากาศ

SCBA กับ Air-Line Supply เลือกอุปกรณ์หายใจแบบไหนในที่อับอากาศ

by pam 23 เมษายน 2025
written by pam

การทำงานในพื้นที่อับอากาศ (Confined Space) เป็นหนึ่งในงานที่มีความเสี่ยงสูงที่สุดในด้านความปลอดภัยในการทำงาน เนื่องจากพื้นที่เหล่านี้มักมีปริมาณออกซิเจนต่ำ หรือมีสารปนเปื้อนทางอากาศที่เป็นอันตราย เช่น ก๊าซพิษ หรือสารไวไฟ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถดำเนินงานได้อย่างปลอดภัย การใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจ (Breathing Apparatus) จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการระบายอากาศไม่เพียงพอหรือไม่สามารถทำได้

Continue Reading

23 เมษายน 2025
เครื่องตรวจวัดก๊าซ Single Gas กับ Multi-Gas
PPEความปลอดภัยในการทำงานทำงานที่อับอากาศ

เปรียบเทียบเครื่องตรวจวัดก๊าซ Single Gas กับ Multi-Gas เลือกอย่างไรดี

by pam 21 เมษายน 2025
written by pam

การทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space) เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงต่อชีวิตและสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอันตรายของก๊าซพิษ ก๊าซติดไฟ และภาวะขาดออกซิเจน ด้วยเหตุนี้ การเลือกใช้เครื่องตรวจวัดก๊าซจึงมีความสำคัญ

Continue Reading

21 เมษายน 2025
ประเภทของไฟแต่ละชนิด
ความปลอดภัยในการทำงานดับเพลิงขั้นต้น

ประเภทของไฟแต่ละชนิดอันตรายต่างกัน พร้อม 5 วิธีดับไฟที่ถูกต้อง

by pam 31 มกราคม 2025
written by pam

อัคคีภัยเป็นเหตุการณ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา และอาจสร้างความเสียหายอย่างรุนแรงทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน การมีความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของไฟและวิธีการดับไฟที่ถูกต้องเป็นสิ่งจำเป็น เพราะไฟแต่ละประเภทมีคุณสมบัติและแหล่งเชื้อเพลิงที่แตกต่างกัน ซึ่งต้องใช้วิธีการดับที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการลุกลามของเปลวไฟและลดความเสี่ยงในการเกิดอันตราย

Continue Reading

31 มกราคม 2025
สรุปประกาศกรมสวัสดิการฯ ฝึกอบรมลูกจ้างซึ่งจะทำหน้าที่เป็นผู้ขับรถยก
ขับขี่โฟล์คลิฟท์มาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย

สรุปประกาศกรมสวัสดิการฯใหม่ หลักสูตรอบรมลูกจ้างขับขี่รถยก 2568

by pam 18 มกราคม 2025
written by pam

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องหลักสูตรการอบรมลูกจ้างซึ่งจะทำหน้าที่เป็นผู้ขับรถยก ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2567 เป็นการกำหนดแนวทางตามกฎกระทรวงปี 2564 เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรและรถยก โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 17 มกราคม 2568 โดยมีรายละเอียดสำคัญดังนี้:

Continue Reading
18 มกราคม 2025
วิธีการใช้ถังดับเพลิง ด้วยเทคนิค P.A.S.S.
ความปลอดภัยในการทำงานดับเพลิงขั้นต้น

วิธีการใช้ถังดับเพลิง ด้วยเทคนิค P.A.S.S.

by prawit 7 มกราคม 2025
written by prawit

อัคคีภัยเป็นเหตุการณ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ การเตรียมพร้อมและมีความรู้ในการใช้ถังดับเพลิงจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนควรมี เพื่อเพิ่มโอกาสในการควบคุมเพลิงไหม้ในช่วงแรกเริ่มก่อนที่ไฟจะลุกลาม การใช้ถังดับเพลิงอย่างถูกวิธีไม่เพียงช่วยลดความเสียหายต่อทรัพย์สิน แต่ยังช่วยปกป้องชีวิตของคุณและผู้อื่น

Continue Reading

7 มกราคม 2025
อบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น 3 ชม.
ทำงานปั้นจั่น

หลักสูตร : อบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น (3 ชม.)

by prawit 18 ตุลาคม 2024
written by prawit

ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 เกิดเหตุเครนถล่มทั้งหมด 11 ครั้ง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้: 1) การติดตั้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2) การยกน้ำหนักเกินพิกัดที่กำหนด 3) ขาดการตรวจสอบก่อนใช้งาน 4) การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ 5) ขาดความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน (ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, 2562) อุบัติเหตุเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เวลา และทรัพยากรอย่างมาก

เพื่อป้องกันอันตรายและลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับปั้นจั่นชนิดต่าง ๆ เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง และปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่อื่น ๆ สถานประกอบการควรให้ความสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายให้กับพนักงาน

โดยสามารถพิจารณาจากแนวทางที่กำหนดใน กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 หมวด 2 เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ข้อ 66 ระบุว่า ” นายจ้างต้องจัดให้พนักงานซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่กำหนด และให้มีการทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ” ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2567 โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตร 9 ดังนี้:

(1) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน

(2) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน

(3) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน

(4) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นหอสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน

(5) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่

(6) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่

(7) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ

(8) หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น

(9) หลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น

ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องตามที่กฎหมายกำหนดรวมถึง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเรื่องอุบัติเหตุและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ให้กับพนักงานที่ผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว 2 ปี กิจการหรือสถานประกอบการ จึงจำเป็นต้องจัดให้มีการฝึกอบรม หลักสูตร การอบรมหรือทบทวนการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น ดังกล่าวนี้

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม

พนักงานที่ ผ่านการฝึกอบรม การฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุของปั้นจั่น และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นชนิดปั้นจั่น

รายละเอียดหลักสูตร

จำนวนผู้เข้าอบรม/รุ่น : จำนวน 1-30 ท่าน/รุ่น

วิธีการฝึกอบรม : บรรยาย / กรณีศึกษา

สิ่งที่จะได้รับหลังการอบรม : วุฒิบัตรผ่านการอบรม

วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล

วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
– ระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรม 100% จำนวน 3 ชั่วโมง
– แบบทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรม
– คะแนนสอบภาคทฤษฎีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น

เวลา
รายละเอียด
วันที่ 1
08.30 – 09.00
ลงทะเบียน
09.00 – 10.30
ภาคทฤษฎี
(1) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น และมาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย (1ชม.)
(2) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุ ของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (30 นาที)
10.30 – 10.45
พักเบรค
10.45 – 12.15
(2) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุ ของปั้นจั่นตามหลักสูตรนั้นๆ และมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (1 ชม.)
(3) รายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานในการประกอบ ติดตั้ง การทดสอบ การใช้ ซ่อมแซม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่น หรืออุปกรณือื่นของปั้นจั่น ตามหลักสูตรนั้น ๆ (30 นาที)
กลับหน้าหลักสูตรปั้นจั่น
ดาวน์โหลดหลักสูตร .pdf
18 ตุลาคม 2024
Newer Posts
Older Posts

โปสเตอร์อบรมอับอากาศ 4 ผู้

เรื่องล่าสุด

  • หน้าที่ จป.บริหาร แตกต่างกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยฯ ระดับอื่นอย่างไร

  • DRABC คืออะไร หลักการพื้นฐานในการประเมินผู้บาดเจ็บ

  • ข้อมูลหลักสูตร : การกู้ภัยในงานบนที่สูง

  • ข้อมูลหลักสูตร : การปฏิบัติงานบนที่สูงเสาส่งสัญญาณ

  • ข้อมูลหลักสูตร : การปฏิบัติงานบนที่สูง สำหรับหัวหน้างาน

หมวดหมู่

  • PPE (8)
  • การทำงานบนที่สูง (3)
  • ความปลอดภัยในการทำงาน (21)
  • ตรวจสอบวิศวกรรม (17)
    • การตรวจระบบดับเพลิง (2)
    • การตรวจสอบระบบไฟฟ้า (3)
    • การตรวจสอบอาคาร (1)
    • การตรวจสอบเครน (6)
    • การตรวจไฟอลาม (1)
    • มาตรฐานตรวจรับรอง (6)
  • บทความอบรมความปลอดภัย (43)
    • หลักสูตร คปอ. (1)
    • หลักสูตร จป (3)
      • จป.บริหาร (2)
      • จป.เทคนิค (1)
    • หลักสูตรตามกฎหมาย (37)
      • ขับขี่โฟล์คลิฟท์ (2)
      • ดับเพลิงขั้นต้น (5)
      • ทำงานที่สูง (4)
      • ทำงานที่อับอากาศ (7)
      • ทำงานนั่งร้าน (2)
      • ทำงานปั้นจั่น (9)
      • ทำงานไฟฟ้า (1)
      • ปฐมพยาบาล (4)
      • ผู้เฝ้าระวังไฟ (1)
      • สารเคมีอันตราย (2)
    • เลือกอบรมเหมาะกับงาน (1)
  • มาตรฐาน กฎหมายความปลอดภัย (11)
  • อาคาร/สิ่งก่อสร้าง (6)
  • เคมีในอุตสาหกรรม (2)
หลักสูตรอบรม จป
    • อบรม จป หัวหน้างาน HOT
    • อบรม จป บริหาร HOT
    • อบรม จป เทคนิค
    • อบรม จป 12 ชม.
    • อบรม คปอ

บริการตรวจรับรอง

    • ตรวจเครน
    • ซ่อมเครน
    • ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
    • PM ระบบไฟฟ้า
    • ตรวจระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
    • ตรวจระบบดับเพลิง
    • ตรวจสอบอาคาร
หลักสูตรอบรม ความปลอดภัย
    • อบรม พนักงานใหม่ 6 ชม.
    • อบรม ที่สูง
    • อบรม เครน 4 ผู้
    • อบรม นั่งร้าน
    • อบรม เคมี
    • อบรม ปฐมพยาบาล
    • อบรม ดับเพลิงขั้นต้น
    • อบรม ที่อับอากาศ
    • อบรม โฟล์คลิฟท์
    • อบรม ไฟฟ้า
ใบอนุญาตกรมสวัสดิการฯ
  • ดาวน์โหลดใบอนุญาต
บริษัท เซฟตี้ เมมเบอร์

เลขที่ 349 อาคารเอสเจ อินฟินิท วัน บิสซิเนส คอมเพล็กซ์ ชั้น 20 ห้องเลขที่ 2001-2005  ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

นิติบุคคล : 0105565144344
อีเมล

Sale@safetymember.net

โทรศัพท์
(064) 958 7451

คุณ แนน

เพิ่มเพื่อน

  • หน้าแรก
  • บทความ

©2025 SAFETYMEMBER. Developed website and SEO by iPLANDIT

Safetymember.net
  • Home